มีการใช้โดรโสฟิลลา เมลาโนแกสเตอร์
หรือแมลงวันผลไม้
ในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ มานานกว่า 100 ปี
เพราะเหตุผล 5 ข้อ คือ
มีขนาดเล็ก และขยายพันธุ์ได้ง่าย
และมีชีวิตเพียง 2 สัปดาห์ เราจึงศึกษาวงจรชีวิต ของพวกมันได้ง่าย
ในช่วง 14 วันนี้ ตัวเมียจะวางไข่ หลายร้อยฟอง
ตัวอ่อนจะเติบโต นอกร่างกาย จึงทำให้ศึกษาได้ง่าย
แมลงวันผลไม้ มีโครโมโซมเพียง 4 คู่
มนุษย์มี 23 คู่
แต่รหัสพันธุกรรมของยีนก่อโรคในมนุษย์ เกือบร้อยละ 75 เหมือนกับรหัสพันธุกรรม ของแมลงวันผลไม้
นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ รหัสทางพันธุกรรม ของแมลงวันผลไม้ เพื่อศึกษาโรคต่างๆ เช่น
1. โรคพาร์กินสัน
2. ...
Please log in to view and download the complete transcript.