ในขณะที่กล้องโทรทรรศน์ช่วยให้เรามองเห็นวัตถุบนท้องฟ้าได้ กล้องจุลทรรศน์ช่วยให้เรามองเห็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตได้เช่นกัน
มีการกล่าวถึงแว่นขยายในงานเขียนของนักปรัชญาชาวโรมัน ในช่วงศตวรรษที่ 1
ชาวโรมัน ศตวรรษที่ 1แว่นขยาย
แต่กว่ากาลิเลโอซึ่งเป็นบิดาแห่งฟิสิกส์และดาราศาสตร์ยุคใหม่จะคิดหลักการของเลนส์ และการรวมแสงขึ้นก็ล่วงเลยมาจนศตวรรษที่ 17 แล้ว
กาลิเลโอ ศตวรรษที่ 17 เลนส์และการรวมแสง
โรเบิร์ต ฮุค ได้สร้างกล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบตัวแรก ที่สามารถใช้งานได้จริง ในปีค.ศ.1665
โรเบิร์ต ฮุค ปี ค.ศ.1665
เป็นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงมีเลนส์นูนสองชิ้นคือ เลนส์ใกล้วัตถุ และเลนส์ใกล้ตา
ระบบเลนส์นูน 2 เลนส์ เลนส์ใกล้วัตถุ
ฮุคสังเกตว่าเนื้อเยื่อประกอบด้วยองค์ประกอบเล็กๆ แยกกันอยู่เป็นช่อง
ในปีค.ศ.1665 เขาค้นพบเซลล์และเป็นผู้เรียกด้วยคำนี้เป็นคนแรก
สิ่งที่ฮุคมองเห็น คือเซลล์ที่ตายแล้วของไม้คอร์ก
คนแรกที่เห็นเซลล์ที่มีชีวิตจากกล้องจุลทรรศน์คือ อังตวน แวน เลเวนฮุค
อังตวน แวน เลเวนฮุค ประมาณปี ค.ศ.1670
ราวปีค.ศ.1670 ...
Please log in to view and download the complete transcript.