ซูเปอร์โนวา
รางแยกสลายด้วยไฟฟ้าของเดวี่
เพชร
ส่วนหนึ่งของตารางธาตุ
ดมีตรี เมนเดเลเยฟ
การใช้ตารางธาตุ
สเปกโทรสโคป
แบบจำลองโมเลกุล
โครงสร้างอะตอม
แร่เหล็ก
เหล็กดัดฟัน
ดอกไม้ไฟ
สระว่ายน้ำ
แมกนีเซียม
วงล้ออัลลอย
ดวงอาทิตย์
การส่งผ่านอิเล็กตรอน
เพชร
ธาตุฮาโลเจน
การอ่านค่าความดัน
เกลือ
ออกซิเจน
ธาตุฮาโลเจนและการใช้ประโยชน์
ธาตุในหมู่ที่ 7 ของตารางธาตุเรียกว่า ฮาโลเจน
ฮาโลเจน
มันประกอบด้วย ฟลูโอรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน และแอสทาทีน
พวกมันเป็นอโลหะ และทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรง
ทั้งนี้ เนื่องมาจากอิเล็กตรอนในชั้นนอกสุดมีเจ็ดตัว ซึ่งขาดไปเพียงหนึ่งตัวก็จะมีอิเล็กตรอนเต็มชั้นนอก ทำให้ธาตุพวกนี้มีแนวโน้มที่จะได้รับอิเล็กตรอน
ในความเป็นจริง ฮาโลเจนเป็นธาตุที่ไวต่อปฏิกิริยามาก ดังนั้นอะตอมที่มีอยู่ตามธรรมชาติจะอยู่ในรูปที่เกิดเป็นพันธะกับอะตอมอื่นๆ
พวกมันถูกเรียกว่า “ฮาโลเจน” ซึ่งหมายถึงผู้สร้างเกลือ เพราะตามธรรมชาติ พวกมันจะรวมกับโลหะแล้วเกิดเป็นเกลือ เช่น เกลือโซเดียมคลอไรด์
‘ฮาโล-เจน’ ผู้สร้างเกลือ
ในรูปแบบที่บริสุทธิ์ ฮาโลเจนจะอยู่เป็นคู่อะตอมสร้างพันธะกัน
พวกมันจะมีไอที่เป็นสีต่างๆ
ที่อุณหภูมิห้อง ฟลูออรีนเป็นก๊าซสีเหลือง คลอรีนเป็นก๊าชสีออกเขียวๆ…
โบรมีนมีไอเป็นสีออกแดงๆ...
และไอโอดีนจะเปลี่ยนเป็นไอสีม่วงได้อย่างง่ายดายเมื่อได้รับความร้อนอ่อนๆ
จุดหลอมเหลวและจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามลำดับในหมู่ ทำให้มีแนวโน้มที่สังเกตได้อย่างชัดเจนที่อุณหภูมิห้อง โดยที่ฟลูออรีนและคลอรีนเป็นก๊าซ โบรมีนเป็นของเหลว และไอโอดีนและแอสทาทีนเป็นของแข็ง
จุดเดือด ของธาตุจำพวกฮาโลเจน
ฟลูโอรีน -188 องศาเซลเซียส
คลอรีน -35 องศาเซลเซียส
Please log in to view and download the complete transcript.