เหล็กในสถานะของเหลว
ลาวา
กรวดหินแกรนิต
ภาพตัดขวางของโลก
โลกยุคจูแรสสิก
รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัส
บ้านทรุด
รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัส
หินลาวา
รถดันดิน
เครื่องวัดความไหวสะเทือน
อาคารโครงเหล็ก
ป้ายแสดงเส้นทางการอพยพหนีสึนามิ
แผนที่ของแผ่นเปลือกโลก (มีข้อความประกอบ)
แผนที่ของแผ่นเปลือกโลก (ไม่มีข้อความประกอบ)
แนวเปลือกโลกแยกตัว แนวเปลือกโลกลู่เข้าหากัน และแนวเปลือกโลกเลื่อนผ่านกัน (มีข้อความประกอบ)
แนวเปลือกโลกแยกตัว แนวเปลือกโลกลู่เข้าหากัน และแนวเปลือกโลกเลื่อนผ่านกัน (ไม่มีข้อความประกอบ)
การเกิดเทือกเขา (มีข้อความประกอบ)
การเกิดเทือกเขา (ไม่มีข้อความประกอบ)
การกระจายตัวของการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระดับโลก
แม้ว่าพื้นผิวโลกอาจดูเหมือนหยุดนิ่ง แต่ความจริงแล้วมันกำลังเคลื่อนที่
การเพิ่มขึ้นและการลดลงของความร้อนภายในโลกทำให้เกิด กระแสการพาความร้อน
กระแสการพาความร้อน
กระแสการพาความร้อนนี้ลากให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากกัน 2 ถึง 3 เซนติเมตรต่อปี
แม้จะดูเหมือนไม่มาก แต่มีผลกระทบอันน่าทึ่ง
ทำให้เกิดแผ่นดินไหว ทำให้เกิดภูเขาไฟ ทำให้เกิดภูเขา และเมื่อผ่านไปหลายล้านปี เคลื่อนย้ายทวีปทั้งทวีป
เหตุการณ์เหล่านี้ล้วนเกิดจาก การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
และแผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่สามวิธีที่แตกต่างกัน
มันเคลื่อนออกจากกัน เคลื่อนเข้าหากัน หรือเคลื่อนผ่านกัน
เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากกัน เรียกว่า ขอบเขตการเกิด
ขอบเขตการเกิด
ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในท้องทะเล
ในขณะที่แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากกัน หินหนืดที่หลอมละลายพุ่งขึ้นด้านบน ซึ่งทำให้เกิดแนวของภูเขาไฟปะทุ
เมื่อหินหนืดเย็นตัวลงจะทำให้เกิดพื้นผิวหินใหม่
เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าหากัน มีผลกระทบที่สามารถเกิดได้ 2 อย่าง
ถ้าแผ่นเปลือกโลกทั้งสองเป็นแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป ผิวดินทั้งสองจะถูกผลักขึ้น
เกิดเป็นภูเขา
เรียกว่า ขอบเขตการชน
ขอบเขตการชน:แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปสองแผ่นดันพื้นที่สูงขึ้น
แต่ถ้าแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรและแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปชนกัน แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะมุดลงด้านล่าง เรียกกระบวนการเกิดนี้ว่า การมุดตัว
เรียกว่า ขอบเขตการทำลาย
ขอบเขตการทำลาย:แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรและแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป เขตการมุดตัว
ชั้นเปลือกโลกที่มุดตัวนี้จะละลายเป็นหินหนืด ซึ่งสามารถทำให้เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟอันทรงพลัง
เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ผ่านกัน เรียกว่าขอบเขตอนุรักษ์
ขอบเขตอนุรักษ์:แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ผ่านกัน
แผ่นดินใหม่ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นหรือถูกทำลาย แต่มันสามารถทำให้เกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงได้
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแสดงให้เห็นว่า ภูมิประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องโดยความร้อนที่ซ่อนลึกอยู่ภายในโลกของเรา