ในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ.1997 ดาวเทียมแคสสินี่-ฮอยเก็นส์ ได้ออกเดินทางไปสู่ดาวเสาร์และดวงจันทร์บริวารที่ใหญ่ที่สุดของมันที่ชื่อว่า ไททัน
15 ตุลาคม ค.ศ.1997
หลังจากเกือบทศวรรษของความพยายามทางด้านวิศวกรรมและการออกแบบ ในที่สุด ดาวเทียมนี้ก็ออกนอกการดูแลของนักวิทยาศาสตร์
หลังจากเดินทางมาเป็นเวลาเจ็ดปีด้วยระยะทางมากกว่า 1 พันล้านกิโลเมตร ดาวเทียมนี้ก็พบกับภารกิจที่ต้องใช้ความพยายามอย่างสูง
เพื่อที่จะปล่อยเครื่องตรวจวัดฮอยเก็นส์ ดาวเทียมแคสสินี่ จะต้องเข้าใกล้ดาวเสาร์มากพอที่จะเข้าสู่วงโคจรของมัน
และจะทำเช่นนั้นสำเร็จก็ต่อเมื่อดาวเทียมสามารถบินผ่านวงแหวนของดาวเสาร์
ภายในวงแหวน วัตถุประกอบด้วยหินแข็งและน้ำแข็งจำนวนหลายพันล้าน กำลังเดินทางด้วยอัตราเร็วพอๆ กับอัตราเร็วเสียง
“ดอปเพลอร์ราบลงแล้ว”
พวกเขาทำสำเร็จ
ดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรรอบๆ ดาวเคราะห์อย่างปลอดภัยและพร้อมแล้วสำหรับงานส่วนสุดท้าย
25 ธันวาคม ค.ศ.2004
ในวันคริสต์มาส ปีค.ศ.2004 เครื่องตรวจวัดฮอยเก็นส์ ก็ถูกปล่อยออกจากดาวเทียมแคสสินี่ และใช้เวลา 20 วันต่อจากนั้น ในการเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของไททัน
เมื่อรอดพ้นจากอัตราเร็วและที่อุณหภูมิที่ร้อนแรง ร่มชูชีพก็เปิดออกและส่วนที่อันตรายที่สุด ในภารกิจของเครื่องตรวจวัดฮอยเก็นส์ก็จบลงด้วยดี
เครื่องมือในส่วนล่างสุดของเครื่องตรวจวัด พร้อมที่จะสำรวจพื้นผิวในทันทีที่ลงแตะพื้น
ศาสตราจารย์จอห์น ซาร์เนคคี มหาวิทยาลัยโอเพ่น ...
Please log in to view and download the complete transcript.