เกลือ
พันธะไอออนิก
คาร์บอน
เพชร
นาโนเทคโนโลยี
การอ่านค่าความดัน
เกลือ
ออกซิเจน
ดวงอาทิตย์
การส่งผ่านอิเล็กตรอน
เพชร
ธาตุฮาโลเจน
ไฟ
การระเบิด
ดินปืน
ดอกไม้ไฟ
ไดนาไมต์
พันธะไอออนิก
พันธะอโลหะ
การแยกสลายด้วยไฟฟ้าของเลดโบรไมด์ (มีข้อความประกอบ)
การแยกสลายด้วยไฟฟ้าของเลดโบรไมด์ (ไม่มีข้อความประกอบ)
นี่คือโลหะโซเดียม แค่สัมผัสกับน้ำ ก็เกิดเปลวไฟขึ้น
ก๊าซสีออกเขียวนี้คือคลอรีน ซึ่งมีความเป็นพิษสูง และถูกนำไปใช้ในสงครามเคมี
แต่เมื่อนำธาตุอันตรายทั้งสองธาตุนี้ มาให้เกิดพันธะทางเคมีระหว่างกัน กลับได้สารใหม่ที่มีคุณสมบัติต่างจากธาตุเดิมอย่างสิ้นเชิง
สารที่ว่านี้ไม่มีพิษภัย เราบริโภคมันอยู่ทุกวัน
นั่นก็คือโซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงนั่นเอง
โซเดียมคลอไรด์ NaCI
สารประกอบอื่นๆ รอบตัวเราอีกมากมาย ก็เกิดจากการรวมตัวกันของอะตอมโลหะและอโลหะ
เช่น ซิงค์ออกไซด์ ในครีมกันแดด
และ โซเดียมฟลูออไรด์ ที่ใช้ในยาสีฟัน
แล้วพันธะเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
พันธะระหว่างโลหะและอโลหะ
อะตอมโลหะโดยทั่วไป มีอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดเพียง 1 หรือ 2 ตัว ดังนั้นเพื่อให้เสถียร อิเล็กตรอนนี้จะถูกปล่อยออกไป ทำให้อะตอมมีอิเล็กตรอนชั้นนอกเต็ม
อะตอมโซเดียม Na
แต่ธาตุอโลหะโดยทั่วไป จะมีอิเล็กตรอนชั้นนอก 4 ตัว หรือมากกว่านั้น มันจึงต้องการรับอิเล็กตรอนเข้ามาจนเต็มชั้นพลังงาน เพื่อให้เสถียร
อะตอมคลอรีน Cl
ดังนั้น เมื่ออะตอมของโลหะและอโลหะ ทำปฏิกิริยากัน ...
Please log in to view and download the complete transcript.