น้ำแข็งย้อย
น้ำตาลในน้ำชา
สเปรย์น้ำหอม
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
ดีเอ็นเอ
น้ำเดือด
น้ำแข็งแห้ง
ซอสมะเขือเทศ
ความชื้น
แบบจำลองโมเลกุล
โครงสร้างอะตอม
ซูเปอร์โนวา
รางแยกสลายด้วยไฟฟ้าของเดวี่
เพชร
เพชร
ธาตุฮาโลเจน
การอ่านค่าความดัน
เกลือ
ออกซิเจน
ดวงอาทิตย์
การส่งผ่านอิเล็กตรอน
ตารางธาตุ
โครงสร้างของธาตุอโลหะและสารประกอบ (มีข้อความประกอบ)
โครงสร้างของธาตุอโลหะและสารประกอบ (ไม่มีข้อความประกอบ)
ธาตุฮาโลเจนและการใช้ประโยชน์
สสารทุกชนิดสร้างขึ้นจากอนุภาคที่เล็กเกินกว่าที่เราจะมองเห็น
อนุภาคเหล่านี้มีการเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอและดึงดูดซึ่งกันและกัน
แรงดึงดูดที่เกิดขึ้นระหว่างโมเลกุล เรียกว่า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
นี่เป็นสิ่งที่จะกำหนดว่าสสารจะเป็นของแข็ง ของเหลวหรือ ก๊าซ
ซึ่งแตกต่างจากพันธะโคเวเลนต์ที่แข็งแรงภายในโมเลกุล แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลเป็นแรงดึงดูดที่อ่อนแอกว่ามาก
ในโมเลกุลไอโอดีนนี้ พันธะโคเวเลนต์ที่แข็งแรงเกิดขึ้นระหว่างอะตอมไอโอดีน 2 อะตอม
แต่แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เกิดระหว่างโมเลกุลของไอโอดีนนั้นอ่อนแอกว่ามาก
นี่คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ถูกหักล้างออกไปเมื่อสสารเปลี่ยนสถานะ
เมื่อมีการให้พลังงานกับไอโอดีนแข็ง มันจะชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
โมเลกุลไอโอดีนกระจายตัวมากขึ้น จนกลายเป็นก๊าซ
มี 2 ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อความแข็งแรงของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ขนาดของโมเลกุล
โมเลกุลที่มีขนาดใหญ่กว่า จะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่แข็งแรงกว่า
นี่เป็นผลมาจากจำนวนอิเล็กตรอนที่มากกว่าในโมเลกุลขนาดใหญ่
โมเลกุลไอโอดีนมีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่าในโมเลกุลคลอรีน
เลกุลของไอโอดีน = 106 อิเล็กตรอน
โมเลกุลของคลอรีน = 34 อิเล็กตรอน
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอโอดีนมีค่ามากกว่า ซึ่งอธิบายว่าทำไมไอโอดีนจึงเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ในขณะที่คลอรีนเป็นก๊าซ
โมเลกุลของพอลิเมอร์ขนาดใหญ่ เช่น พอลิเอธีลีน มีอิเล็กตรอนอยู่นับพัน จึงต้องใช้พลังงานมากในการดึงโมเลกุลออกจากกัน
นี่คือเหตุผลว่าทำไมพลาสติกจึงเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
ระยะห่างระหว่างโมเลกุล
ปัจจัยสำคัญที่ 2 ที่ส่งผลต่อแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลคือ ...
Please log in to view and download the complete transcript.