ตารางธาตุ
อะตอม
อะตอมอาร์กอน
อะตอมคาร์บอน
แบบจำลองอะตอม
กล้องจุลทรรศน์แบบหัวสแกน
แมกนีเซียม
วงล้ออัลลอย
ดอกไม้ไฟ
แร่ทองคำ
เครื่องประดับทองคำ
แร่เหล็ก
เหล็กดัดฟัน
การส่งผ่านอิเล็กตรอน
เพชร
ธาตุฮาโลเจน
การอ่านค่าความดัน
เกลือ
ชั้นอิเล็กตรอน (มีข้อความประกอบ)
ชั้นอิเล็กตรอน (ไม่มีข้อความประกอบ)
สเปกตรัมการเปล่งแสง
ดอกไม้ไฟ ระเบิดออกเป็นแสงระยิบระยับ
สีน้ำเงินและสีเขียว สีแดงและสีส้ม โชติช่วงเปลี่ยนสีท้องฟ้ายามราตรี
สีต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
ย้อนไปช่วงกลางศตวรรษที่ 19 โรเบิร์ต บุนเซน ผู้ประดิษฐ์ตะเกียงบุนเซน ค้นพบปรากฏการณ์การเปล่งแสงของเปลวไฟ
เขาพบว่าเมื่อนำธาตุบริสุทธิ์ต่างชนิดกันมาเผาในตะเกียงบุนเซน เปลวไฟที่ได้จะมีสีต่างกัน
ธาตุโพแทสเซียมให้สีม่วงอ่อน
ทองแดงให้แสงสีเขียว
แคลเซียมเปล่งแสงสีแดงอมส้ม
และโซเดียมให้แสงสีเหลืองสว่าง
เปลวไฟของธาตุแต่ละชนิดจะมีสีเฉพาะตัว โดยที่เปลวไฟของธาตุโลหะจะโดดเด่นที่สุด
โพแทสเซียม – สีม่วงอ่อน
ทองแดง – สีเขียว
แคลเซียม – สีแดงอมส้ม
โซเดียม – สีเหลืองสด
ในปัจจุบันเราทราบแล้วว่า ปรากฏการณ์นี้เกิดจากความแตกต่างของการจัดเรียงอิเล็กตรอน ในโครงสร้างอะตอม
อิเล็กตรอนโคจรอยู่รอบๆ นิวเคลียสซึ่งมีประจุบวก โดยจัดเรียงตัวอยู่ในชั้นพลังงานต่างๆ ซึ่งอิเล็กตรอนในชั้นพลังงานเดียวกันจะมีระดับพลังงานเท่ากัน
ชั้นพลังงานที่ใกล้นิวเคลียสที่สุด
อะตอมแคลเซียม
มีระดับพลังงานต่ำที่สุด ส่วนชั้นพลังงานที่ห่างออกมา จะมีระดับพลังงานสูงขึ้น
อะตอมโซเดียม
เมื่อธาตุได้รับพลังงานความร้อน อิเล็กตรอนจะถูกกระตุ้น ...
Please log in to view and download the complete transcript.