พันธะโคเวเลนต์
พันธะเคมี
คาร์บอน
เพชร
นาโนเทคโนโลยี
เพชร
ส่วนหนึ่งของตารางธาตุ
ดมีตรี เมนเดเลเยฟ
การใช้ตารางธาตุ
สเปกโทรสโคป
การอ่านค่าความดัน
เกลือ
ออกซิเจน
ดวงอาทิตย์
การส่งผ่านอิเล็กตรอน
เพชร
ธาตุฮาโลเจน
ดินปืน
ดอกไม้ไฟ
ดอกไม้ไฟ
ไฟ
ไดนาไมต์
การระเบิด
พันธะโคเวเลนต์
พันธะอโลหะ
โครงสร้างของธาตุอโลหะและสารประกอบ (มีข้อความประกอบ)
โครงสร้างของธาตุอโลหะและสารประกอบ (ไม่มีข้อความประกอบ)
อะตอมของธาตุอโลหะเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของทุกสิ่งรอบตัวเรา และในร่างกายของเรา
ธาตุเหล่านี้รวมถึงคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน ซึ่งล้วนสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
โดยปกติ อโลหะจะไม่อยู่เป็นอะตอมเดี่ยว แต่จะเชื่อมต่อกันเป็นโมเลกุล
โมเลกุลอาจเกิดจากการรวมกันของธาตุชนิดเดียวกันเช่น ออกซิเจน
โมเลกุลออกซิเจน 2 อะตอมของออกซิเจน
หรือเป็นสารประกอบของธาตุต่างชนิดกันก็ได้เช่น โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์
โมเลกุลคาร์บอนไดออกไซด์:1 อะตอมคาร์บอน 2 อะตอมออกซิเจน
โมเลกุลอาจจะมีขนาดเล็กเช่น โมเลกุลไฮโดรเจน หรือใหญ่มากเช่น ดีเอ็นเอ
แล้วอะตอมธาตุอโลหะเชื่อมต่อกันได้อย่างไร?
พันธะของอโลหะ
คำตอบก็เหมือนกับพันธะเคมีทุกชนิดนั่นคือ เกิดจากอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของอะตอม นั่นเอง
ธาตุอโลหะส่วนใหญ่มีอิเล็กตรอนชั้นนอกสุด 4 ตัว หรือมากกว่านั้น
อะตอมคลอรีน:อิเล็กตรอนชั้นนอกสุด 7 ตัว การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบ 2, 8, 7
พวกมันจึงต้องการรับอิเล็กตรอนเพิ่มให้เต็มชั้น เพื่อให้เกิดความเสถียร
แต่เมื่อธาตุอโลหะมาเกาะกัน อะตอมทั้งสองต่างต้องการอิเล็กตรอนเพิ่ม
เนื่องจากทั้งสองอะตอมต่างต้องการอิเล็กตรอนเพิ่มอย่างมาก อะตอมแต่ละตัวจึงต้องใช้อิเล็กตรอนชั้นนอกสุดร่วมกัน เพื่อให้มีอิเล็กตรอนชั้นนอกเต็มทั้งคู่
โมเลกุลคลอรีน ...
Please log in to view and download the complete transcript.