• ทำไมจึงเลือกทวิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • เกี่ยวกับบริษัทของเรา
    • รางวัล
    • เกี่ยวกับทีมของเรา
    • วิธีการสร้างภาพยนตร์ของเรา
  • ติดต่อทวิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ไทย
    • ไทย
    • อังกฤษ
Twig World Limited
  • ทัวร์ชมทวิก
  • ทดลองใช้ฟรี
  • สมัครสมาชิก
Aksorn logo

การให้เลือด: สงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

การให้เลือด: สงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

Sorry, this film is not free to view

Start trial

Please log in or subscribe to watch the full film
  1. Mindmap
  2. ชีววิทยา
  3. ร่างกายมนุษย์
  4. หัวใจและเลือด
Learning materials
  • Film info
  • Transcript
  • Related films
  • Related glossary films
  • Embed

Film info

Film summary

บทเรียนจากแนวหน้า: เพราะเหตุใดประสบการณ์จากสงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์จึงทำให้แพทย์กลับไปทบทวนการรักษาผู้ป่วยบาดแผลฉกรรจ์

Key facts

  • ระหว่างการสู้รบที่หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ทหารที่ได้รับบาดเจ็บในสมรภูมิมักต้องรอความช่วยเหลือทางการแพทย์นานนับชั่วโมงน่าทึ่งที่ทหารจำนวนมากรอดชีวิต
  • หลังจากกรณีขัดแย้งฟอล์กแลนด์ ขั้นตอนการให้เลือดผู้ป่วยบาดแผลฉกรรจ์อย่างทันทีทันใดเริ่มเป็นที่ถกเถียง
  • ในสงครามครั้งก่อนๆ ทหารจำนวนมากเสียเลือดจนถึงแก่ความตายเพราะความดันโลหิตที่สูงจากการให้เลือดทำให้บาดแผลไม่สามารถปิดได้เองตามธรรมชาติ
  • ในปัจจุบัน หน่วยแพทย์และพยาบาลฉุกเฉินจะต้องสังเกตและรอคอยให้ระบบซ่อมแซมของร่างกายเริ่มทำงานก่อนและจะให้เลือดต่อเมื่อความดันโลหิตไม่เพิ่มกลับขึ้นมาเองตามธรรมชาติ

Transcript

ในช่วงสงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ระหว่างประเทศอาร์เจนตินาและอังกฤษ การสู้รบในยามค่ำคืนและสภาพอากาศที่เลวร้าย ทำให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์ที่รวดเร็วนั้นเป็นไปแทบไม่ได้เลย

ในบางครั้งทหารที่ได้รับบาดเจ็บ อาจถูกทิ้งไว้ลำพังเป็นเวลาหลายชั่วโมง

เชื่อกันว่า การรอคอยอันยาวนานก่อนที่จะได้รับการถ่ายเลือด แท้จริงแล้วอาจจะช่วยปกป้องชีวิตของพวกเขา

ศาสตราจารย์จิม ไรอัน ศัลยแพทย์อุบัติเหตุ –“พวกเขาได้รับบาดเจ็บ ล้มลงนอนแน่นิ่ง และอาจเสียเลือดไปมาก แต่ไม่ถึงจุดที่จะทำให้เสียชีวิต เลือดแข็งตัวเป็นลิ่มและหยุดไหลไม่มีใครให้ของเหลวใดๆ ทำให้ความดันเลือดเพิ่มขึ้น พวกเขาเพียงแค่อดทนอยู่ตรงนั้นให้ได้”

แต่ในสงครามเวียดนาม ทหารจะได้รับการให้เลือดทันที ซึ่งจะทำให้ลิ่มเลือดในธรรมชาติแตกออก และนำไปสู่การเสียชีวิตจำนวนมาก

จากกรณีสงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ จึงเกิดคำถามเรื่องการถ่ายเลือดโดยทันทีแก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บฉกรรจ์

ปัจจุบันนี้ หน่วยกู้ชีพจะเฝ้าสังเกตและรอดูอาการ ก่อนที่จะเพิ่มความดันเลือด

โดยปล่อยให้ระบบซ่อมแซมร่างกายมีช่วงเวลาที่สำคัญในการรักษาตัวเองเสียก่อน

Please log in to view and download the complete transcript.

Related films

  • เลือด

    เลือด

  • การให้เลือด: สงครามเวียดนาม

    การให้เลือด: สงครามเวียดนาม

  • หัวใจแข็งแรง

    หัวใจแข็งแรง

  • หัวใจ

    หัวใจ

  • ข้อมูลน่ารู้: หัวใจ

    ข้อมูลน่ารู้: หัวใจ

previous next

Related glossary films

    0
  • พันล้าน

    พันล้าน

  • 0
  • จุดเดือด

    จุดเดือด

  • 0
  • อะดรีนาลีน

    อะดรีนาลีน

  • 0
  • ถุงลม

    ถุงลม

  • 0
  • น้ำคร่ำ

    น้ำคร่ำ

  • 0
  • อะไมเลส

    อะไมเลส

  • 0
  • กล้ามเนื้อคู่ตรงข้าม

    กล้ามเนื้อคู่ตรงข้าม

  • 0
  • ยาปฏิชีวนะ

    ยาปฏิชีวนะ

  • 0
  • การดื้อยาปฏิชีวนะ

    การดื้อยาปฏิชีวนะ

  • 0
  • แอนติบอดี

    แอนติบอดี

previous next

Embed this film

Copy and paste the embed code above to include this film on other websites.

Share this film

Copy and paste the code above to link to this page.
  • วิธีใช้ทวิก
  • คำถามที่พบบ่อย
  • เงื่อนไขและข้อตกลงทั่วไป