ทารกในครรภ์
อัลตราซาวนด์
ตัวอ่อนมนุษย์
การปฏิสนธิ
ตัวอ่อนมนุษย์ที่ระยะ 6 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์
การปฏิสนธิในหลอดทดลองหรือการทำเด็กหลอดแก้ว
การตั้งครรภ์
อสุจิ
ทารกขณะเคลื่อนออกทางช่องคลอด (มีข้อความประกอบ)
มดลูก, รก, น้ำคร่ำ และทารก (มีข้อความประกอบ)
ทารกขณะเคลื่อนออกทางช่องคลอด (ไม่มีข้อความประกอบ)
การคลอดคือเป้าหมายสูงสุดของการตั้งครรภ์นานเก้าเดือนเต็ม
แต่กระบวนการคลอดซึ่งกินเวลาหลายชั่วโมงก็เป็นการท้าทายและเป็นอันตรายต่อชีวิตมากที่สุด สำหรับแม่และทารกทุกคน
หลายสัปดาห์ก่อนการคลอด ร่างกายของแม่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้การคลอดให้เป็นไปอย่างราบรื่นที่สุด
หลายสัปดาห์ก่อนการคลอด ร่างกายของแม่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้การคลอดให้เป็นไปอย่างราบรื่นที่สุด
ไปจนถึง การคลายตัวของข้อต่อกระดูกเชิงกราน
ด้านทารกก็มีการเตรียมพร้อมเช่นกัน โดยสัญชาตญาณ ทารกในครรภ์จะกลับหัวลงเพื่อเตรียมเคลื่อนออกทางช่องคลอด
การเดินทางออกจากครรภ์ที่มีความยาวไม่ถึง 10 เซนติเมตร อาจใช้เวลามากกว่า 18 ชั่วโมง
สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดการคลอด ยังคงเป็นปริศนา แต่การผสมผสานระหว่างฮอร์โมนจากของทารกและเลือดของแม่ ทำให้มดลูกเริ่มบีบรัดตัว
กล้ามเนื้อมดลูกจะบีบรัดตัวเป็นจังหวะ ทำให้ปากมดลูกค่อยๆ เปิดหรือขยายตัว
ขั้นตอนนี้อาจยืดเยื้อถึง 12 ชั่วโมงหรือนานกว่านั้น
ปากมดลูกเป็นบริเวณปลายสุดของมดลูกที่เชื่อมต่อกับช่องคลอด
ก่อนที่ทารกจะสามารถเคลื่อนลงไปตามช่องคลอดได้ ปากมดลูกจะต้องขยายตัวกว้างกว่าปกติถึง 20 เท่า
เมื่อปากมดลูกเปิดเต็มที่แล้ว แม่ก็พร้อมที่จะคลอด
ทารกก็พร้อมออกมาดูโลก และแม่ก็เริ่มเบ่งท้อง
แต่ละครั้งที่มดลูกหดตัว จะทำให้ศีรษะของทารกเคลื่อนไปตามแนวอุ้งเชิงกราน.
Iอุ้งเชิงกรานเป็นช่องที่แคบมาก แต่โชคดีที่กระดูกกะโหลกศีรษะของทารกยังไม่เชื่อมติดกันแน่น ทำให้ศีรษะถูกบีบออกมาได้อย่างปลอดภัย
ความสำเร็จเกิดขึ้นเมื่อ ตอนที่ส่วนที่กว้างที่สุดของศีรษะทารกผ่านพ้นช่องคลอดออกมาได้
และเมื่อศีรษะพ้นช่องคลอดแล้ว ทารกจะพลิกตัวไปด้านข้างเพื่อช่วยให้ไหล่หลุดออกมาได้
...Please log in to view and download the complete transcript.